วันพุธที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
วันพฤหัสบดีที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
วันพฤหัสบดีที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
ดื่มน้ำเมื่อท้องว่าง ดีอย่างไร???
การดื่มน้ำเมื่อท้องว่างผ่านกระเพาะเพื่อรักษาสุขภาพ ที่ดี ในประเทศญี่ปุ่นทุกวันนี้เป็นที่นิยมการดื่มน้ำทันที หลังตื่นนอนตอนเช้า (ก่อนแปรงฟัน) เพื่อการรักษาสุขภาพที่ดี มีการทดลองทางวิทยาศาสตร์ พบว่าน้ำ สามารถใช้ชะลอความแก่ และสามารถบำบัดรักษาโรคได้ เราสามารถใช้น้ำเพื่อบำบัดรักษาโรคได้หลายโรค มีการพิสูจน์จนยอมรับว่าสามารถบำบัดรักษาโรคเหล่านี้ ได้ผล 100% (ค่อยเป็นค่อยไป ต้องใช้ระยะเวลา) ปวดหัว ปวดตามตัว โรคระบบหัวใจ โรคไขข้ออักเสบ โรคหัวใจเต้นเร็วโรคลมบ้าหมู โรคอ้วน โรคหลอดลมอักเสบ โรคหืด วัณโรค อาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ไขสันหลังอักเสบ โรคไต และยูริก โรคแสลงคลื่นไส้ต่างๆโรคกระเพาะ โรคท้องร่วง โรคริดสีดวง โรคเบาหวาน โรคอาการท้องผูก โรคตา โรคภายในสตรี มะเร็ง และรอบเดือนไม่ปกติ โรคคอ หู จมูก
วิธีการรักษาปฏิบัติดังนี้
1. ตื่นนอนตอนเช้า ก่อนแปรงฟัน ให้ดื่มน้ำ 4 แก้ว (640 ซีซี)
2. หลังจากนั้นสามารถแปรงฟันและล้างหน้าได้ แต่ต้องไม่ดื่ม หรือรับประทานอะไรจนกว่า 45 นาทีผ่านไป จึงจะรับประทานได้ตามปกติ
3. หลังรับประทานอาหารเช้า กลางวัน เย็น ไปแล้ว 15 นาที ต้องไม่ควรดื่มน้ำหรือรับประทานเลย จนกว่า 2 ชั่วโมงผ่านไป
4. ผู้ป่วย หรือ คนชรา ที่ไม่สามารถดื่มน้ำ 4 แก้ว ก็ขอให้ค่อยๆ ดื่ม ค่อยเป็นค่อยไปเรื่อยๆ จนได้ครบ 4 แก้ว
ข้อ ปฏิบัติ 4 ข้อดังกล่าวจะทำให้ท่านบำบัดรักษาโรคที่เป็นอยู่ค่อย ๆ เบาและหายขาดได้ในที่สุด วิธีนี้ไม่มีผลข้างเคียงใดๆ ทั้งสิ้น จะทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น
จากสถิติข้อมูลโรคที่บำบัดรักษาทำให้หายได้ภายในเวลา ดังนี้
1. โรคความดันโลหิตสูง 30 วัน
2. โรคกระเพาะ 10 วัน
3. โรคเบาหวาน 30 วัน
4. โรคท้องผูก 10 วัน
5. โรคมะเร็ง 180 วัน
6. โรควัณโรค 90 วัน
สำหรับ โรคไขข้ออักเสบจะเห็นผลภายใน 3 วัน ในสัปดาห์แรกให้ปฏิบัติทุกวัน วิธีรักษาแบบนี้ไม่มีผลเสียแต่อย่างใด เพียงแต่อาจปัสสาวะบ่อยขึ้น และหลังดื่มน้ำไปแล้วประมาณ 1-2 ชั่วโมง จะปวดปัสสาวะ
วิธีการรักษาปฏิบัติดังนี้
1. ตื่นนอนตอนเช้า ก่อนแปรงฟัน ให้ดื่มน้ำ 4 แก้ว (640 ซีซี)
2. หลังจากนั้นสามารถแปรงฟันและล้างหน้าได้ แต่ต้องไม่ดื่ม หรือรับประทานอะไรจนกว่า 45 นาทีผ่านไป จึงจะรับประทานได้ตามปกติ
3. หลังรับประทานอาหารเช้า กลางวัน เย็น ไปแล้ว 15 นาที ต้องไม่ควรดื่มน้ำหรือรับประทานเลย จนกว่า 2 ชั่วโมงผ่านไป
4. ผู้ป่วย หรือ คนชรา ที่ไม่สามารถดื่มน้ำ 4 แก้ว ก็ขอให้ค่อยๆ ดื่ม ค่อยเป็นค่อยไปเรื่อยๆ จนได้ครบ 4 แก้ว
ข้อ ปฏิบัติ 4 ข้อดังกล่าวจะทำให้ท่านบำบัดรักษาโรคที่เป็นอยู่ค่อย ๆ เบาและหายขาดได้ในที่สุด วิธีนี้ไม่มีผลข้างเคียงใดๆ ทั้งสิ้น จะทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น
จากสถิติข้อมูลโรคที่บำบัดรักษาทำให้หายได้ภายในเวลา ดังนี้
1. โรคความดันโลหิตสูง 30 วัน
2. โรคกระเพาะ 10 วัน
3. โรคเบาหวาน 30 วัน
4. โรคท้องผูก 10 วัน
5. โรคมะเร็ง 180 วัน
6. โรควัณโรค 90 วัน
สำหรับ โรคไขข้ออักเสบจะเห็นผลภายใน 3 วัน ในสัปดาห์แรกให้ปฏิบัติทุกวัน วิธีรักษาแบบนี้ไม่มีผลเสียแต่อย่างใด เพียงแต่อาจปัสสาวะบ่อยขึ้น และหลังดื่มน้ำไปแล้วประมาณ 1-2 ชั่วโมง จะปวดปัสสาวะ
ปัญหาโลกร้อนกับความร่วมมือในระดับประเทศ
จุดเริ่มของการตระหนักถึงปัญหาสภาวะโรคร้อนเกิดขึ้นเมื่อที่ประชุมสหประชาชาติเห็นพ้องต้องกันถึงปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมของโลกจึงได้มีการร่างอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ((United Nations Framework Convention on Climate Change-UNFCCC) เพื่อใช้รับมือกับสภาวะโลกร้อนโดยมีเป้าหมายว่า ประเทศอุตสาหกรรมซึ่งเป็นกลุ่มประเทศตัวจักรสำคัญในการเพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจกขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศ โดยอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีเป้าหมายให้ประเทศอุตสหกรรมลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศให้มีปริมาณเท่ากับการปล่อยกาซเรือนกระจกเข้าสู่ชั้นบรรยากาศในปี พ.ศ. 2533 ให้ได้ภายในปี พ.ศ.2543 ซึ่งเป็นการรักษาระดับปริมาณก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศให้อยู่ในระดับคงที่และไม่ส่งผลกระทบต่อโลกมนุษย์มากจนเกินไป ทั้งยังสามารถเป็นหลักประกันได้ว่าความอุดมสมบูรณ์เรื่องการกินการอยู่ ผลผลิตทางการเกษตรจะไม่ถูกรุกเร้าจากสภาวะโลกร้อนมากไปกว่าที่เป็นอยู่ ก๊าซเรือนกระจกที่ อนุสัญญาฯดังกล่าวบังคับควบคุมคือ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)ไนตรัสออกไซด์ (N2O) มีเทน (CH4) และ สารทดแทน CFC
จนกระทั่งในปีพ.ศ. 2535 ในการประชุมของสหประชาชาติ ณ กรุงริโอเดอจาเนโร ประเทศ บราซิล ประเทศต่างๆได้ลงนามเพื่อรับรองอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change, UNFCCC)
สำหรับประเทศไทยเองก็ได้ลงนามให้สัตยาบรรณในอนุสัญญาฯฉบับนี้ด้วยเช่นกัน โดยมีพันธกิจที่ต้องรับผิดชอบคือ การร่วมรับผิดชอบในการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก รวมไปถึงการจัดทำรายงานเพื่อเสนอต่อเลขาธิการอนุสัญญาฯซึ่งเปรียบเสมือนการรายงานความคืบหน้าเกี่ยวกับการควบคุมปริมาณก๊าซเรือนกระจกให้กับประชาคมโลกได้รับทราบ ทั้งยังดำเนินการศึกษาด้านวิชาการที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ และ เข้าประชุมเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านเทคนิค
แต่ปัญหาของอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ((United Nations Framework Convention on Climate Change-UNFCCC) ดังกล่าวคือการไม่มีสภาพบังคับอย่างแท้จริง และไม่ได้รับความร่วมมือในทางปฏิบัติเท่าที่ควร จึงเกิดแนวคิดกับการทำให้อนุสัญญาดังกล่าวมีผลบังคับใช้จริงๆ
ดังนั้นในการประชุมสมัชชาประเทศสมาชิกที่เคยให้สัตยาบันรับรองอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่ประชุมจึงเห็นสมควรว่าควรจะมีการจัดตั้งคณะทำงานขึ้นเพื่อร่างข้อตกลงให้มีการบังคับใช้ อนุสัญญาฯ โดยได้มีการจัดตั้งคณะทำงานเฉพาะกิจเพื่อทำการร่างกฎกติกาดังกล่าวโดยคณะทำงานเฉพาะกิจได้ใช้เวลาในการร่างพิธีสารดังกล่าวถึง 2 ปีครึ่ง ซึ่งเป็นที่มาของ พิธีสารเกียวโต(Kyoto Protocol) นั้นเอง
จนกระทั่งในปีพ.ศ. 2535 ในการประชุมของสหประชาชาติ ณ กรุงริโอเดอจาเนโร ประเทศ บราซิล ประเทศต่างๆได้ลงนามเพื่อรับรองอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change, UNFCCC)
สำหรับประเทศไทยเองก็ได้ลงนามให้สัตยาบรรณในอนุสัญญาฯฉบับนี้ด้วยเช่นกัน โดยมีพันธกิจที่ต้องรับผิดชอบคือ การร่วมรับผิดชอบในการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก รวมไปถึงการจัดทำรายงานเพื่อเสนอต่อเลขาธิการอนุสัญญาฯซึ่งเปรียบเสมือนการรายงานความคืบหน้าเกี่ยวกับการควบคุมปริมาณก๊าซเรือนกระจกให้กับประชาคมโลกได้รับทราบ ทั้งยังดำเนินการศึกษาด้านวิชาการที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ และ เข้าประชุมเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านเทคนิค
แต่ปัญหาของอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ((United Nations Framework Convention on Climate Change-UNFCCC) ดังกล่าวคือการไม่มีสภาพบังคับอย่างแท้จริง และไม่ได้รับความร่วมมือในทางปฏิบัติเท่าที่ควร จึงเกิดแนวคิดกับการทำให้อนุสัญญาดังกล่าวมีผลบังคับใช้จริงๆ
ดังนั้นในการประชุมสมัชชาประเทศสมาชิกที่เคยให้สัตยาบันรับรองอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่ประชุมจึงเห็นสมควรว่าควรจะมีการจัดตั้งคณะทำงานขึ้นเพื่อร่างข้อตกลงให้มีการบังคับใช้ อนุสัญญาฯ โดยได้มีการจัดตั้งคณะทำงานเฉพาะกิจเพื่อทำการร่างกฎกติกาดังกล่าวโดยคณะทำงานเฉพาะกิจได้ใช้เวลาในการร่างพิธีสารดังกล่าวถึง 2 ปีครึ่ง ซึ่งเป็นที่มาของ พิธีสารเกียวโต(Kyoto Protocol) นั้นเอง
การพัฒนาครูสู่เทคโนโลยีสื่อการสอน
บทความการพัฒนาครูสู่เทคโนโลยีสื่อการสอน
ในปัจจุบันสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนเทคโนโลยีสื่อการสอนที่ได้นำเทคโนโลยีด้านการสอนสมัยใหม่มาใช้เป็นจำนวนมาก จึงจำเป็นต้องพัฒนาระบบการศึกษา ทำให้ครูผู้สอนมีความรู้ ความสามารถ และทักษะ มีคุณธรรมให้ทันต่อความเจริญก้าวหน้าและหลักนิยมที่เปลี่ยนแปลงไป สามารถพึ่งตนเองได้ ตลอดจนการนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและหลักนิยมของโรงเรียน
ปัจจัยสำคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ได้แก่ การให้การศึกษาและความรู้ครูผู้สอน กระบวนการเรียนการสอนเป็นการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ครูผู้สอนมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องนำเอาเทคโนโลยี สื่อการสอน วัสดุอุปกรณ์ทางการศึกษาเข้ามาเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนหรือเรียกว่าการนำเทคโนโลยีสื่อการสอนมาประกอบการสอนนั่นเอง เทคโนโลยีการสอนนั้นเป็นเสมือนสะพานเชื่อมประสานระหว่างทฤษฎีการสอนกับการปฏิบัติการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มพูนผลการเรียนให้ตรงตามจุดมุ่งหมายของบทเรียนนั่นเอง ซึ่งสอดคล้องกับ
กิดานันท์ มลิทอง (2536 : 75) ได้กล่าวว่า สื่อการเรียนการสอนนับว่าเป็นสิ่งสำคัญที่มีบทบาทอย่างมากในการเรียนการสอนนับแต่ออดีตจนถึงปัจจุบันเนื่องจากเป็นตัวกลางที่ช่วยให้การสอนระหว่างผู้สอนและผู้เรียนดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพทำให้ผู้เรียนได้เข้าใจความหมายในเนื้อหาบทเรียนได้ตรงตามที่ผู้สอนต้งอการไม่ว่าสื่อนั้นจะเป็นสื่อแบบใด ชนิดใดก็ล้วนแต่เป็นทรัพยากรที่สามารถอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ได้ทั้งสิ้น การใช้สื่อการสอนต้องเลือกสื่อที่มีความเหมาะสม และตรงตามจุดประสงค์การสอนโดยการวางแผนการสอนอย่างเป็นระบบในการใช้
สนั่น ปัทมะทิน (2505 : 10) ที่กล่าวว่า การนำสื่อการสอนมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพเป็นวิธีการแก้ปัญหาดังกล่าวได้ทางหนึ่งเพราะการสอนเป็นการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ การที่จะช่วยให้การเรียนและการสอนให้มีประสิทธิภาพนั้นจะต้องใช้สื่อการสอนอย่างเป็นระบบ แต่ครู-อาจารย์ ส่วนมากมักจะมองข้ามความสำคัญของสื่อการเรียนการสอนไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสอนในระดับอุดมศึกษาและการสอนผู้ใหญ่ ซึ่งผู้สอนเห็นว่าผู้เรียนไม่ใช่เด็ก ๆ จึงสอนด้วยวิธีการบรรยายและค้นคว้าก็เพียงพอที่จะเกิดการเรียนรู้แล้ว
ความจริงแล้ว ผู้สอนจำเป็นต้องพยายามหาลู่ทางที่ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และทักษะ ตลอดจนความสามารถทำอะไรได้จริงตามความมุ่งหมายโดยเร็วที่สุด และตรึงอยู่ในความทรงจำของผู้เรียนไว้อย่างถาวร ในการส่งเสริมความรู้และทักษะผู้สอนจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ การสอนหรือสื่อการสอนมาประกอบการสอนด้วย
วันพุธที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
สไตน์การเรียนรู้(learning styles)
การศึกษาโดยทั่วไปให้ความสำคัญกับหลักสูตร แผนการเรียนรู้ และผู้สอน แต่ไม่ให้ความสำคัญกับความแตกต่างของผู้เรียน โดยเฉพาะวิธีการเรียนรู้ สมองกับการเรียนรู้ ส่วนการศึกษาตลอดชีวิต แคร์และให้ความสำคัญกับ รูปแบบการเรียนรู้ (learning styles) และวิธีการเรียนรู้รายบุคคล เพราะไม่ให้ความสำคัญกับการรับรอง แต่สนใจในคุณภาพชีวิต หลังการเรียนรู้ รูปแบบการเีรียนรู้ส่วนบุคคล 1 เรียนรู้โดยการมอง ในการเรียนรู้ใช้เครื่องมือคือตาและสมองในการมองเห็นรูป เพื่อทำความเข้าใจกับสรรพสิ่ง การคิดวิเคราะห์ การประยุกต์นั้น จะทำได้ดีเมื่องมองเห็น 2.เรียนรู้โดยการฟัง ในการเรียนรู้ใช้เครื่องมือคือหูและสมองในการได้ยินเสียง เพื่อจะทำความเจ้าในในสรรพสิ่ง รวมถึงการคิดวิเคราะห์จนถึงประยุกต์ใช้ 3.เรียนรู้โดยการพูดหรือใช้ภาษา เครื่องมือก็คือปากและสมองในการเรียนรู้ เพื่อจะทำความเจ้าในในสรรพสิ่ง รวมถึงการคิดวิเคราะห์จนถึงประยุกต์ใช้ 4.เรียนรู้โดยการเคลื่อนไหวร่างกาย เครื่องมือก็คือร่างกายและสมองในการเรียนรู้ เพื่อจะทำความเจ้าในในสรรพสิ่ง รวมถึงการคิดวิเคราะห์จนถึงประยุกต์ใช้ 5.เรียนรู้โดยใช้ตรรกะความคิด เครื่องมือคือสมองอย่างเดียวล้วน ๆ เพื่อจะทำความเจ้าในในสรรพสิ่ง รวมถึงการคิดวิเคราะห์จนถึงประยุกต์ใช้ 6.เรียนรู้โดยการรวมกลุ่มทางสังคม ประมาณว่าแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อจะทำความเจ้าในในสรรพสิ่ง รวมถึงการคิดวิเคราะห์จนถึงประยุกต์ใช้ 7.เรียนรู้ทุกสิ่งจากการนั่งเงียบ ๆ คนเดียว เครื่องมือก็คือสมอง เพื่อจะทำความเจ้าในในสรรพสิ่ง รวมถึงการคิดวิเคราะห์จนถึงประยุกต์ใช้ จากรูปแบบการเรียนเพือทำความเข้าใจกับสไตล์การเรียนรู้ว่ามีความหลากหลายยิ่ง และบางครั้งก็พบว่ามีหลากหลายรูปแบบในการผสมผสานการของการเรียนรู้ ทำให้ ความแตกต่างอย่างหลากหลายนั้นมีความสัมพันธ์กับพาหุปัญญา แต่พวกสร้างเครื่องมือวัด กลับมีเพียงอย่างเดียว ทำอะไรโดยมิติเดียย |
การศึกษาตลอดชีวิต กับการถ่ายทอดวัฒนธรรมการสอนของครู
นอกจากการเรียนในห้องเรียนแล้ว ที่ใช้เนื้อหาตามหลักสูตรและวัดประเมินตามหลักสูตรในระบบ มีการเรียนรู้ชนิดหนึ่งเกิดขึ้น ก็คือ การเรียนรู้วิธีการสอนของครู ซึ่งไม่มีในหลักสูตร และไม่มีการวัดประเมิน เช่นเดียวกับการปลูกฝังประชาธิปไตย ผ่านระบบความสัมพันธืในโรงเรียน ที่ไม่มีในหลักสูตร และการวัดประเมิน เช่นเดียวกันหลายครั้งที่นักวิชาการทั้งหลาย ตั้งขบวนการปฏิรูปถึงกระบวนการปฏิรูปการเรียนรู้ แล้วทำไมการจัดการเรียนรู้ของครูก็ยัง เหมืยนเดิม ก็คือ เอาหนังสือขึ้นมา ให้นักเรียนอ่าน ทำแบบฝึกหัด ตามหนังสือ หรือชอล์ก แอนด์ ทอล์กหรือแม้บางท่านพยามเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปฏิรูปการเรียนรู้เน้นการสอนในสไตน์ที่หลากหลายบ้าง แต่ก็ไม่ทิ้งชอล์กแอนด์ทอล์ก ผมมีเพื่อนหลายคนที่กล้าเปลี่ยนในเรื่องการสอนตามแนวปฏิรูปการเรียนรู้ ก็พบว่าเขาประทับใจในครูที่สอนเขา ในระดับมัธยม หลายคนสอนแบบนี้ เขาชอบ พอเขาได้มาเป็นครูเขาก็นำรูปแบบหลักที่เขาประทับใจนั้นมาสอน นักเีรียนต่อ แต่ก็มีเพื่อนอีกหลายคนที่ยังชอล์กแอนด์ทอล์ก พอสอบถามเขาเขาก็บอกว่ามันง่ายดี พอถามลึก ๆ ถึงสมัยอดีต กลับไม่พบมีความประทับใจเกี่ยวกับการสอนใด ๆ เลย ครูที่สอนมาก็ชอล์กแอนด์ทอล์กนี่แหละ เขาบอกว่า การที่เขาได้ดีก็เพราะชอล์กแอนด์ทอล์กนี่แหละ ไม่ต้องเปลี่ยนหรอก ทำให้ผมสว่างวาบถึงอิทธิพลของการศึกษาตลอดชีวิต ที่ยังได้ผลเสมอแม้จะไม่ต้องวัดผลอะไรเลยก็ตาม ก็ดูวัฒนธรรมและวิถีชีวิตในการสอนของครูนั้น เป็นการเรียนรู้วิถีชีวิตโดยเฉพาะการเรียนการสอนของครูรุ่นก่อน ปัจจุบันก็ยังคงสอนเหมือนเดิมอย่างมีประสิทธิภาพ ว่ากันว่า การแสดงเนื้อหาของการสอนนั้นผ่านอนุบาล 2 ปี ประถม 6 ปี มัธยม 6 ปี และการสอนรูปแบบใหม่ ๆ นั้นในอุดมศึกษา เรียนมากที่สุดแค่ 18 หน่วยกิต 3 เดือนครึ่งสอบท่องให้ผ่าน ไม่ถึงปี แม้ว่าการวัดผลตามหลักสูตรจะบอกว่่าคนคนนี้เก่งวิธีการสอน แต่การเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่พระคุณครูรุ่นก่อน ๆ ที่สอนมา และไม่ได้วัดอะไรเลยแต่กลับมีประสิทธิภาพกว่าแฮะ...แอบยิ้มว่าของตรูมีประสิทธิภาพโดยไม่วัดและประเมิน คำตอบและความสำเร็จของการปฏิรูปรอบสอง ก็ดูการสืบทอดวัฒนธรรมตามแบบบูรพาจารย์ ส่วนเรื่องใหม่ ๆ ที่ นักวิชาการต่างประเทศนำเสนอ แล้วชนชั้นนำที่เป็นอาจารย์ก็นำเอามานำเสนอต่อเพียงทฤษฎีหรือปฎิบัติได้น้อยและดูทีท่าว่า ผู้ที่นำเอาวิธีการปฏิรูปการเีรียนรู้มานำเสนอ เปลี่ยนจากการปิ้งแผ่นใส มาเป็น powerpoint และทอล์ก แอนด์ ทอล์ก และวัดประเมินจากความจำได้หมายรู้จากทอล์กนั้น ระยะเวลาการนำเสนอตัวของความรู้นั้นเพียงแค่ไม่ถึง 6 เดือน และแปลกแยกจากการปฏิบัติ เมื่อเปรียบเทียบความรู้ที่เกิดจากการศึกษาตลอดชีวิตที่ตนเองได้เรียนรู้สั่งสมมาโดยไม่รู้ตัว ตั้ง 14 ปี ที่นำเสนอความรู้ทั้งวิธีการสอน และระบบความสัมพันธ์จึงเป็นสุดยอดประสิทธิภาพจริง ๆ |
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)